ผักเชียงดา Gymnema inodorum (Lour.) Decne. (เต็ม, 2544) หรือ เซียงดา (สำนักงานคณะ กรรมการสาธารณสุขมูลรุน, 2540) เป็นผักพื้นบ้านภาคเหนือที่มีผลต่อการรักษาโรคเบาหวาน รูมาตอยด์ และเก็าท์ (Shimizu et d., 200) มีสารซาโปนิน (รดpnin) ที่มีฤทธิ์ยับยั้งการดูดซึมและลดระดับน้ำตาลใน ลำไส้ (ประไพภัทร, 2552) สารสกัดจากใบช่วยทำให้นักกีฬาเกิดการพัฒนากลัมเนื้อมากขึ้น (Preuss et d., 20) มีการวิจัยแสดงว่าพืชชนิดนี้เป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณลดน้ำตาลในเลือด และมีศักยภาพในการ พัฒนาเปีนยารักษาโรคเบาหวาน(สำนักงานคณะกรรมการสาธารณสุขมูลฐาน,2540) อีกทั้งเป็นผักประจำ ถิ่นที่มีศักยภาพที่สามารถผลิดในระดับฟร์มได้ ป็นพืชที่บ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ของภาคเหนือ
ผักเชียงดา เป็นผักพื้นบ้านที่คนไทยภาคเหนือนิยมรับประทาน พบมากทางภาคเหนือ เช่น บริเวณจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอน ในตำรายาไทย ใช้ใบผักเชียงดาตำละเอียดพอก กระหม่อมเพื่อรักษาไข้ อาการหวัดหรือนำไปประกอบในตำรายาแก้ไข้ ปัจจุบันบริษัทยาของประเทศญี่ปุ่น ได้ผลิตพืชชนิดนี้เป็นชาชงสมุนไพร เพื่อลดน้ำตาลในเลือด มีงานวิจัยหลากหลาย ที่พบร่สารออกฤทธิ์ใน ผักเชียงดา ช่วยบำรุงสายตา ควบคุมการทำงานของร่างกายให้เป็นปกดิ และเป็นสารด้านอนุมูลอิสระที่ เป็นตันเหตุทำให้เกิดโรคมะเร็งดับ มะเร็งในกระเพาะอาหาร โรคเส้นเลือดหัวใจอุดดัน โรคต้อกระจกใน ผู้สูงอายป้องกันการแตกของเม็ดเลือดแดง และการเสียหายของ DN ช่วยรักษโรคเบาหวาน ข้ออักเสบ รูมาตอยด์ และเก๊ก (Shimizu et al, 200) มีสารชาโปนิน (ร0pnin) ที่มีฤทธิ์ยับยั้งการดูดซึมและลดระดับ น้ำตาลในลำไส้ (ประไพกักร, 22) ผู้ผลิตอาหารเสริมในญี่ปุ่นได้ระบุถึงสรรพคุณใบชาเชียงดา (roosted te) ว่าสามารถยับยั้งการดูดซึมกลูโคส และสารสกัดจากใบช่วยทำให้นักกีฬเกิดการพัฒนากล้ามเนื้อ มากขึ้น (Preuss et al. 2004)
ผักเชียงดาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น เปลือกแก้บิด ท้องร่วง แก้ลม อาการชัก รากรสขมเล็กน้อยช่วยขับปัสสาวะ แก้ไข้ หมอพื้นบ้านล้นนา ใช้ทั้งต้นเป็นยาช่วยลดความดัน โลหิตสูงและเข้ายาแก้เวียนศีรษะใช้ใบดำละเอียดแล้วนำมาพอกกระหม่อมรักษาไข้ อาการหวัด หรือนำ ไปประกอบในตำรายาแก้ไข้ ผักเชียงดาเป็นผักที่มีศักยภาพในการผลิต และผลผลิตสามารถใช้ประโยชน ได้ทุกส่วน เช่น บริโคสดโดยการประกอบอาหาร ทำชาชง น้ำสกัดเข้มขัน น้ำสกัดพร้อมดื่ม ผลิตภัณฑ์ เสริมอาหาร (ธีรวัลย์และคณะ, 2553; ธีรวัลย์และคณะ, 2552)
อ้างอิง : ผักเชียงดาราชินินีผักล้านนา แก้วปัญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา